Design Thinking
หลักการและเหตุผล (principle and rational)
Design Thinking กระบวนการคิดที่ใช้การทำความเข้าใจในปัญหาต่างๆอย่างลึกซึ้ง โดยเอาผู้ใช้เป็นศูนย์กลาง และนำเอาความคิดสร้างสรรค์และมุมมองจากคนหลายๆสายมาสร้างไอเดีย
แนวทางการแก้ไขและนำเอาแนวทางต่างๆ นั้นมาทดสอบและพัฒนา เพื่อให้ได้แนวทางหรือนวัตกรรมที่ตอบโจทย์กับผู้ใช้และสถานการณ์นั้นๆ
วัตถุประสงค์ (Oิbjective)
1. เพื่อสร้างความตระหนักถึงการพัฒนาตนเองสู่การสร้างนวัตกรรมในการทำงาน
2. เพื่อพัฒนาความรู้ความเข้าใจในหลักการDesign Thinking และสามารถนำไปปรับใช้ได้จริง
3. เพื่อปรับมุมมองและแนวคิดในการแก้ปัญหาในการทำงานโดยยึดหลักผู้ใช้งานเป็นศูนย์กลาง
4. เพื่อนำไปปรับใช้ในการออกแบบผลิตจภัณฑ์ , กระบวนการ และเครื่องมือ เพื่อพัฒนาการทำงานและสร้างนวักรรม
กลุ่มผูเข้าฝึกอบรม (Target Participants)
บุคลากรในองค์กรที่ต้องออกแแบผลิตภัฒฑ์ หรือ กระบวนการต่างๆ
หัวข้อการเรียนรู้ (Learning Points)
INNOVATION MINDSET
• นวัตกรรมสำคัญอย่างไรในยุคดิจิทัล
• เปลี่ยนชุดความคิดเดิมไปสู่ INNOVATION MINDSET
• Design Thinking คืออะไร เรียนรู้ หลักการ ความหมาย แบบ OVERVIEW
STEP 1 : EMP ATHIZE
• Human-Centered Design (การออกแบบที่ใช้มนุษย์เป็นศูนย์กลาง)
• ต้อง Empathize ใคร และ สิ่งใด อะไรคือหัวใจของ Empathize
• เรียนรู้ 3 เครื่องมือ Empathize (สังเกต , สัมภาษณ์ , สวมบทบาท)
STEP 2 : DEFINE
• 6W 2H กำหนดปัญหาอย่างไรให้ครอบคลุม
• ระบุปัญหาด้วย KEYWORD
• 5 องค์ประกอบมุมมองของปัญหา (Points of view) ที่ดีต้องเป็นอย่างไร
STEP 3 : ID EATE
• เรียนรู้กฎการระดมความคิด (Brainstorm)
• เรียนรู้การคิดแบบหมวก 6 ใบ (Six Thinking Hats)
• เรียนรู้ 4 ขั้นตอนในการสรุปหลังการระดมความคิด
STEP 4 : PROTOTYPE
• ก่อนสร้างต้นแบบต้องเตรียมอะไรบ้าง
• 3R ต้นแบบที่ดีเป็นอย่างไร (Waht is a good pretotype)
• เรียนรู้การสร้างต้นแบบ 3 ประเภท
• สตอรี่บอร์ด (Storyboard)
• การแสดงบทบาทสมมุติ (Role-Play)
• ต้นแบบที่จับต้องได้ (Physical Protype)
• อะไรคือหัวใจสำคัญของการสร้างต้นแบบ
STEP 5 : TEST
• เทคนิคการตั้งคำถามเพื่อหา Feedback
• ใครบ้างที่ต้องทดสอบต้นแบบ (Designer + Real User)
• ขั้นตอนการนำ Feedback มาปรับปรุงต้นแบบในอนาคต
• เรียนรู้ กระบวนการที่ย้อนกลับของ Design Thinking
PROTOTYPE PRESENTATION
• เรียนรู้การนำเสนอต้นแบบ
• นำเสนอเชิงเปรียบเทียบ (BAB pattern)
• นำเสนอด้วยปัญหา (PAS pattern)
• นำเสนอด้วยคุณประโยชน์ (FAB pattern)
รูปแบบการเรียนรู้ (Learning Format & Style)
1. บรรยายแบบมีส่วนร่วม(ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง)
2. กิจกรรมกลุ่ม Work Shop อภิปรายผลงานกลุ่ม กรณีศึกษา
ระยะเวลาในการเรียนรู้ (Times)